|
|
 |
|
จากคำบอกเล่าของผู้สูงอายุและชาวบ้านทั่วไปเล่าสืบทอด
ต่อกันมาว่าเมื่อประมาณ150 ปีเศษ (พ.ศ. 2390)ชาวบ้าน
แถบนี้ได้อพยพมาจากเมืองเวียงจันทร์ สาธารณรัฐประชา
ธิปไตย ประชาชนลาว เนื่องจากขณะนั้นเมืองเวียงจันทร์มี
ความธุรกันดาร การทำมาหากินลำบาก ประชาชนอดอยาก
ประกอบกับชาวนาบางส่วนถูกกวาดต้อนมาเป็นเฉลยของ
ประเทศไทย เมื่อเดินทางผ่านมาถึงบริเวณพื้นที่แห่งนี้ ซึ่ง
มีความอุดมสมบูรณ์ด้วยพืชพันธุ์ธัญญาหารภูมิประเทศ
เหมาะสมกับการเพาะปลูก จึงตั้งรกรากตรงพื้นที่แห่งนี้
และจากสภาพที่มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่าน ประกอบกับมี
ต้นข่อยขึ้นเรียงรายริมฝั่งแม่น้ำเป็นจำนวนมากจึงเรียกว่า
"ตำบลท่าข่อย" ต่อมาได้มีการทำท่าน้ำเพื่อความสะดวกใน
การนำน้ำไปใช้ในการอุปโภคและบริโภค รวมทั้งการค้าขาย
ต้นข่อยจึงถูกทำลายและเกิดเป็นท่าน้ำที่มีความสวยงาม
มองดูแล้วสบายตาสบายใจแก่ผู้พบเห็นจึงมีการเปลี่ยน
ชื่อใหม่ ว่า "ตำบลท่างาม" ตั้งแต่นั้นมาจนถึงปัจจุบัน |
|
|
|
|
 |
|
ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเนื่องจากสภาพ
พื้นที่ เป็นที่ราบลุ่มเหมาะสมกับการประกอบอาชีพเกษตรกรรม
พืชเศรษฐกิจส่วนใหญ่ได้แก่ ข้าว อ้อย พืชสวน |

 |
เกษตรกรรม(ทำนา ทำสวน เลี้ยงสัตว์) จำนวน 356 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 27.61 ของจำนวนครัวเรือนทั้งหมด |

 |
ค้าขาย จำนวน 135 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 10.47 ของจำนวนครัวเรือนทั้งหมด |

 |
รับจ้าง จำนวน 386 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 29.94 ของจำนวนครัวเรือนทั้งหมด |

 |
ทำงานบริษัท จำนวน 118 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 9.15 ของจำนวนครัวเรือนทั้งหมด |

 |
รับราชการ จำนวน 94 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 7.29 ของจำนวนครัวเรือนทั้งหมด |

 |
อื่นๆ คิดเป็นร้อยละ 15.51 ของจำนวนครัวเรือนทั้งหมด |
|
|
 |
|
 |
เกษตรกรรม |
 |
รับจ้าง |
 |
ค้าขาย |
 |
ทำงานบริษัท |
 |
รับราชการ |
 |
อื่น ๆ |
|
|
 |
 |
|
|
|
|
 |
จำนวนประชากรทั้งสิ้น |
5,217 |
คน |
เป็นชายทั้งสิ้น |
2,476 |
คน |
คิดเป็นร้อยละ 47.46 ของจำนวนประชากรทั้งหมด |
เป็นหญิงทั้งสิ้น |
2,741 |
คน |
คิดเป็นร้อยละ 52.54 ของจำนวนประชากรทั้งหมด |
จำนวนครัวเรือนทั้งหมด |
1,965 |
ครัวเรือน |
ความหนานแน่นเฉลี่ย 165.76 คน/ตารางกิโลเมตร |
|
|
 |
ทิศเหนือ |
ติดต่อกับ |
ต.น้ำร้าย อ.อินทร์บุรี จ.สิงห์บุรี |
 |
|
ทิศใต้ |
ติดต่อกับ |
ต.อินทร์บุรี อ.อินทร์บุรี จ.สิงห์บุรี |
|
 |
ทิศตะวันออก |
ติดต่อกับ |
ต.ทองเอน อ.อินทร์บุรี จ.สิงห์บุรี |
 |
|
ทิศตะวันตก |
ติดต่อกับ |
แม่น้ำเจ้าพระยา |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
องค์การบริหารส่วนตำบลท่างาม มีเนื้อที่ 31.69 ตารางกิโลเมตร ห่างจากอำเภออินทร์บุรี 5 กิโลเมตร
มีลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ราบลุ่ม มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่าน เหมาะสมกับการประกอบอาชีพเกษตรกรรม |
|
|
    |
|
 |
หมู่ที่ |
ชื่อหมู่บ้าน |
จำนวนประชากร |
ชาย |
หญิง |
รวม |
|
จำนวน
ครัวเรือน |
 |
|
1 |
|
บ้านโคกขาม |
227 |
270 |
497 |
336 |
|
 |
2 |
|
บ้านโคกขาม |
126 |
150 |
276 |
99 |
 |
|
3 |
|
บ้านโคกขาม |
152 |
200 |
352 |
132 |
|
 |
4 |
|
บ้านบางเล็ก |
78 |
90 |
168 |
64 |
 |
|
5 |
|
บ้านเกาะแก้ว |
195 |
203 |
398 |
135 |
|
 |
6 |
|
บ้านท่าข่อย |
160 |
186 |
346 |
102 |
 |
|
7 |
|
บ้านท่างาม |
218 |
232 |
450 |
186 |
|
 |
8 |
|
บ้านบางตาโฉม |
274 |
312 |
586 |
200 |
 |
|
9 |
|
บ้านปลาไหล |
411 |
434 |
845 |
251 |
|
 |
10 |
|
บ้านหัวดง |
474 |
469 |
943 |
308 |
 |
|
11 |
|
บ้านโพธิ์สำนัก |
184 |
208 |
392 |
139 |
|
 |
|
|
รวม |
2,499 |
2,754 |
5,253 |
1,952 |
 |
|
|
ข้อมูลจากทะเบียนราษฎร์ ณ สิงหาคม 2558 |
|
|
|
|

 |
โรงงานอุตสาหกรรม |
จำนวน |
1 |
แห่ง |
|

 |
โรงอิฐ |
จำนวน |
1 |
แห่ง |
|

 |
ปั๊มน้ำมัน |
จำนวน |
4 |
แห่ง |
|

 |
โรงสีข้าว |
จำนวน |
1 |
แห่ง |
|

 |
น้ำดื่มแม่บ้านท่างาม |
จำนวน |
1 |
แห่ง |
|
|
 |
|
|